เมนู

ซึ่งตติยฌานในสุญญาควร. . .ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ 3 อย่าง
. . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6 อย่าง . . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จัก
กล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว
4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.

อุปโยควจนวาร 5 หมวด


1. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายวิหารแล้ว
ภิกษุนั้น เข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง
ซึ่งปฐมฌานด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6 อย่าง . . .7
คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าวก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้น
กล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6
อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายวิหารแล้ว ภิกษุ
นั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่ง
ทุติยฌาน. . . ตติยฌาน . . . จตุตถฌาน. . .สุญญตวิโมกข์ . . .อนิมิตตวิโมกข์
อัปปณิหิตวิโมกข์. . . สุญญตสมาธิ. . . อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ สุญญ-
ตสมาบัติ อนิมิตตสมาบัติ อัปปณิหิตสมาบัติ . . . วิชชา 3. . .สติปัฏฐาน. . . 4
. . . สัมมัปปธาน 4 . . . อิทธิบาท 4. . .อินทรีย์ 5 . . . พละ 5 . . .โพชฌงค์ 7
. . . อริยมรรคมี องค์ 8 . . .โสดาปัตติผล . . . สกทาคามิผล . . . อนาคามิผล. . .
อรหัตผล ด้วยอาการ 3 อย่าง. . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6 อย่าง . . . 7

อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3
ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูก
ใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายวิหารแล้ว ราคะ
ภิกษุนั้น สละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอน
แล้ว . . . โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว
เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . . โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง
. . . 6 อย่าง . . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5
อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่น
เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัยเมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายวิหารแล้ว จิต
ของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ . . . จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ. . .จิตของภิกษุนั้น
เปิดจากโมหะ ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6 อย่าง . . .
7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าวก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3
ครั้น กล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูก
ใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ-
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อองอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายวิหารแล้ว ภิกษุนั้น
เข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานใน

สุญญาควร. . .ซึ่งทุติยฌานในสุญญาคาร. . .ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร. . . ซึ่ง
จตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง. . .6
อย่าง . . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าวก็รู้ว่ากล่าว
เท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพราง
ความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
อาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
2. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายจีวรแล้ว
ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้งซึ่ง
ปฐมฌาน ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6 อย่าง . . . 7
คือ 1 เบื้องต้น เธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าวก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้น
กล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6
อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจ-
จัย เมื่อเขาไม่เข้าใจต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายจีวรแล้ว ภิกษุ
นั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่ง
ทุติยฌาน. . .ตติยฌาน . . . จตุตถฌาน . . . สุญญตวิโมกข์. . .อนิมิตตวิโมกข์
อัปปณิหิตวิโมกข์. . .สุญญตสมาธิ . . . อนิมิตตสมาธิ. . . อัปปณิหิตสมาธิ. . .
สุญญตสมาบัติ . . .อนิมิตตสมาบัติ . . . อัปปณิหิตสมาบัติ . . . วิชชา 3 . . . สติปัฏ-
ฐาน 4 . . . สัมมัปปธาน. . . อิทธิบาท . . .4 อินทรีย์ 5 . . .พละ5. . . โพชฌงค์
7 . . .อริยมรรคมีองค์ 8. . .โสดาปัตติผล . . . สกทาคามิผล. . .อนาคามิผล. . .
อรหัตผล ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6 อย่าง . . . 7 อย่าง
คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้น

กล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6
อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เนื้อเข้าไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายจีวรแล้ว ราคะ
ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอน
แล้ว . . . โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว
เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . . โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง
. . . 6 อย่าง . . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5
อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่น
เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายจีวรแล้ว จิตของ
ภิกษุนั้น เปิดจากราคะ. . .จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ. . .จิตของภิกษุนั้นเปิด
จากโมหะ ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6 อย่าง . . . 7 อย่าง
คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้น
กล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6
อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายจีวรแล้ว จิต
ของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ. . .จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ . . .จิตของภิกษุนั้น
เปิดจากโมหะ ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6 อย่าง . . .

7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ
3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความ
ถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
อาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายจีวรแล้ว ภิกษุนั้น
เข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แล้วซึ่งปฐมฌานใน
สุญญาคาร . . . ซึ่งทุติยฌานในสุญญาคาร . . . ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร. . . ซึ่ง
จตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . .6
อย่าง . . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำ-
พรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
3. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายบิณฑบาต
แล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้งซึ่ง
ปฐมฌานด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6 อย่าง . . . 7 อย่าง
คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้น กล่าว
แล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6
อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายบิณฑบาตแล้ว
ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง
ซึ่งทุติยฌาน. . . ตติยฌาน . . .จตุตถฌาน . . .สุญญตวิโมกข์ . . . อนิมิตตวิโมกข์

. . . อัปปณิหิตวิโมกข์. . . สุญญตสมาธิ . . . อนิมิตตสมาธิ. . . อัปปณิหิตสมาธิ . . .
สุญญตสมาบัติ . . . อนิมิตตสมาบัติ . . . อัปปณิหิตสมาบัติ . . . วิชชา 3 . . . สติ-
ปัฏฐาน 4 สัมมัปปธาน 4. . . อิทธิบาท . . . อินทรีย์ 5 . . .พละ 5. . .
โพชฌงค์ 7. . . อริยมรรคมีองค์ 8 . . . โสดาปัตติผล . . . สกทาคามิผล . . .
อนาคามิผล . . . อรหัตผลด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6
อย่าง . . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น
5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อ
คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายบิณฑบาตแล้ว
ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว
ถอนแล้ว . . . โทสะภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว
เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . .โมหะภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . . 5 อย่าง
. . . 6 อย่าง . . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น
5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อ
คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายบิณฑบาตแล้ว
จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ . . .จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ . . . จิตของภิกษุ
นั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ 3 อย่าง . . .4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . . 6 อย่าง
. . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าว

เท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพราง
ความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ
ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายบิณฑบาตแล้ว
ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง
ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร . . .ซึ่งทุติยฌานในสุญญาคาร . . .ซึ่งตติยฌานใน
สุญญาคาร . . .ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ 3 อย่าง . . .4 อย่าง
. . . อย่าง . . . 6 อย่าง . . .7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพราง
ความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความ
จริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
4. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายเสนาสนะแล้ว
ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง
ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . .5 อย่าง . . . 6 อย่าง . . . 7
อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ
3 ครั้น กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความ
ถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
อาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายเสนาสนะแล้ว
ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง
ซึ่งทุติยฌาน . . . ตติยฌาน . . . จตุตถฌาน . . . สุญญตวิโมกข์ . . . อนิมิตต-
วิโมกข์. . . อัปปณิหิตวิโมกข์ . . .สุญญตสมาธิ . . .อนิมิตตสมาธิ . . . อัปปณิ-

หิตสมาธิ . . . สุญญตสมาบัติ . . . อนิมิต สมาบัติ . . . อัปปณิหิตสมาบัติ . . .
วิชชา 3 . . . สติปัฏฐาน 4 . . . สัมมัปปธาน 4 . . . อิทธิบาท 4 . . .อินทรีย์ 5
. . . พละ 5 . . .โพชฌงค์ 7 . . .อริยมรรคมีองค์ 8 . . .โสดาปัตติผล . . .สกทา-
คามิผล . . .อนาคามิผล . . .อรหัตผล ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . .5
อย่าง . . .6 อย่าง . . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลัง
กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพราง
ความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพางความ
จริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายเสนาสนะแล้ว
ราคะภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว
ถอนแล้ว . . .โทสะภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว
เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . .โมหะภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . .5 อย่าง
. . . 6 อย่าง . . .7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น
5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อ
คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายเสนาสนะแล้ว
จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ . . .จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ . . .จิตของ
ภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ 3 อย่าง . . .4 อย่าง . . . 5 อย่าง . . .6 อย่าง
. . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าว
เท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพราง

ความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ
ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายเสนาสนะแล้ว
ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง
ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร . . . ซึ่งทุติยฌานในสุญญาคาร . . .ซึ่งตติยฌานใน
สุญญาคาร . . .ซึ่งจตุตถฌานในสุญญคาร ด้วยอาการ 3 อย่าง . . .4 อย่าง
. . .5 อย่าง . . .6 อย่าง . . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว
4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ
7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ
ต้องอาบัติทุกกฏ.
5. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายเครื่องยาอัน
เป็นปัจจัยของภิกษุไข้แล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้
เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . .
5 อย่าง . . .6 อย่าง . . .7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้น กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว
4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ
7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ
ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายเครื่องยาอันเป็น
ปัจจัยของภิกษุไข้แล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้
ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน . . .ตติยฌาน . . .จตุตถฌาน . . . สุญญต-

วิโมกข์ . . .อนิมิตตวิโมกข์. . .อัปปณิหิตวิโมกข์ . . .สุญญตสมาธิ . . .อนิมิตต-
สมาธิ . . . อัปปณิหิตสมาธิ . . . สุญญตสมาบัติ . . . อนิมิตตสมาบัติ . . .อัปปณิหิต-
สมาบัติ . . .วิชชา 3 . . .สติปัฏฐาน 4 . . .สัมมัปปธาน 4 . . .อิทธิบาท 4
. . . อินทรีย์ 5 . . .พละ 5 . . . โพชฌงค์ 7 . . .อริยมรรมมีองค์ 8 . . .โสดา-
ปัตติผล . . .สกทาคามิผล . . .อนาคามิผล . . .อรหัตผล ด้วยอาการ 3 อย่าง
. . .4 อย่าง . . .5 อย่าง . . .6 อย่าง . . .7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จัก
กล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ
แล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ
7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ
ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายเครื่องยาอันเป็น
ปัจจัยของภิกษุไข้แล้ว ราคะภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . .โทสะภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว
ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . .โมหะภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว
ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ 3 อย่าง . . .
4 อย่าง . . .5 อย่าง . . .6 อย่าง . . .7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าว
เท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้น กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว
4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ
7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ
ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายเครื่องยาอันเป็น
ปัจจัยของภิกษุไข้แล้ว จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ . . . จิตของภิกษุนั้นเปิด

จากโทสะ . . .จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง
. . . 5 อย่าง . . .6 อย่าง . . .7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้น กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว
4 อำพรางความเห็น 5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพราง
ความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติ
ทุกกฏ.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายเครื่องยาอันเป็น
ปัจจัยของภิกษุไข้แล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้
ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร . . .ซึ่งทุติยฌานในสุญญาคาร
. . .ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ 3 อย่าง . . . 4 อย่าง . . .5 อย่าง . . .
6 อย่าง . . .7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้
ว่ากล่าวเท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น
5 อำพรางความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อ
คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
เปยยาล 15 หมวด จบ
ปัจจัยปฏิสังยุตวารกถา จบ

อนาปัตติวาร


[281] ภิกษุสำคัญว่าได้บรรลุ 1 ภิกษุไม่ประสงค์จะกล่าวอวด 1
ภิกษุวิกลจริต 1 ภิกษุมีจิตฟุ้งซ่าน 1 ภิกษุกระสับกระส่ายเพราะเวทนา 1
ภิกษุอาทิกัมมีกะ 1 ไม่ต้องอาบัติ.